เกี่ยวกับครูผู้ช่วย

นอกจาก ข้อสอบครู.com จะมีคลังข้อสอบครูผู้ช่วยที่ดีที่สุด ที่สามารถทำออนไลน์ผ่านหน้าเว็บไซต์ได้แล้ว ยังมีบทความแชร์ความรู้ต่างๆ เกี่ยวกับครูผู้ช่วย โดยถ่ายทอดจากทีมงานครูบรรจุที่มีประสบการณ์ทางการศึกษา

เกี่ยวกับครูผู้ช่วย จะถ่ายทอดเรื่องราวตั้งแต่นิยมของครูผู้ช่วยว่าคืออะไร , ครูผู้ช่วย สพฐ.  กทม. ท้องถิ่น แตกต่างกันอย่างไร , ครูผู้ช่วยต้องสอบอะไรบ้าง  ไปจนถึงแนะนำเทคนิคต่างๆ รวมถึงถ่ายทอดความรู้เมื่อได้บรรจุแล้ว

ครูผู้ช่วยคือ

ครูผู้ช่วยคือ ครูที่ได้รับการบรรจุเข้ารับราชการ โดยคำว่า ครูผู้ช่วยคือ ชื่อตำแหน่งแรกที่ได้ ดังนั้นก็คือข้าราชการครูจริงๆ

ครูผู้ช่วยคือ

ครูบรรจุใหม่

“ครูบรรจุใหม่” ต้องรู้ หรือ ต้องเตรียมตัวอย่างไรบ้าง ก่อนเข้าบรรจุเป็นครูผู้ช่วย และ มีเรื่องอะไรบ้างที่ต้องเจอเมื่อเป็นครูบรรจุใหม่

ครูผู้ช่วย เงินเดือน

ครูผู้ช่วยเงินเดือน เท่าไหร่ ? แล้วการขึ้นเงินเดือนเป็นอย่างไร ข้อสอบครู.com มีคำตอบโดยถ่ายทอดความรู้และประสบการณ์โดยครูบรรจุ

ครูผู้ช่วยสอบอะไรบ้าง (สพฐ.)

“ครูผู้ช่วยสอบอะไรบ้าง” สอบครูผู้ช่วย ต้องสอบ ภาค ก , ข และ ค ซึ่งก็คือความเหมาะสมกับตำแหน่ง รวมไปถึงครูผู้ช่วยต้องสอบสอนอีกด้วย

ครูผู้ช่วย กทม.

ครูผู้ช่วย กทม คือ ข้าราชการส่วนท้องถิ่นสังกัดกรุงเทพมหานคร มีหน้าที่สอนหนังสือให้นักเรียนในโรงเรียนที่สังกัด กทม

ครูผู้ช่วยท้องถิ่น คือ

ครูผู้ช่วยท้องถิ่น คือ ข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา ตำแหน่งครูผู้ช่วย ซึ่งบรรจุและแต่งตั้งโดยองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น (อปท.)

ครูผู้ช่วยอาชีวะ

ครูอาชีวะ คือ ข้าราชการครูที่ปฏิบัติงานในสถานศึกษาอาชีวศึกษา มีหน้าที่หลักในการสอนนักเรียนตามหลักสูตรอาชีวศึกษา

ครูผู้ช่วยกรณีพิเศษ คือ

ครูผู้ช่วยกรณีพิเศษ คือ ครูอัตราจ้างที่มีอายุงานอย่างน้อย 3 ปี ถึงจะมีสิทธิ์สอบเพื่อเข้าบรรจุรับราชการในตำแหน่งครูผู้ช่วย

FAQ

ตำแหน่งครูผู้ช่วยคือ ตำแหน่งแรกที่บรรจุเข้ารับราชการของครูบรรจุใหม่  (เทียบเท่าตำแหน่งอาจารย์ 1 ระดับ 5 เดิม) 

ครูผู้ช่วย มีสังกัด ดังนี้

1.สังกัด สพฐ.

2.สังกัด กทม.

3.สังกัด ท้องถิ่น

4.สังกัด อาชีวศึกษา

5.สังกัด กศน.

ครูผู้ช่วยเป็นครูที่ต้องได้รับการประเมินในตำแหน่งครูผู้ช่วยอย่างเข้ม เป็นระยะเวลา 2 ปี จำนวนปีละ 2 ครั้ง แบ่งช่วงของการประเมินครูผู้ช่วยออกเป็นประเมินทุกๆ 6 เดือน รวมทั้งสิ้นของการเป็นครูผู้ช่วยจะมีการประเมินอย่างเข้มทั้งหมดคือ 4 ครั้ง นั่นเอง จึงจะเลื่อนตำแหน่งเป็น ครู ค.ศ.1